บทที่ 1 การทำงานร่วมกับการเลือก (Working with Selection)

บทที่ 1 การทำงานร่วมกับการเลือก (Working with Selection)
การเรียนรู้วิธีการเลือกพื้นที่ของภาพเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกเมื่อเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop ก่อนอื่นจะต้องทำความเข้าใจเครื่องมือสำหรับการเลือก เมื่อทำการเลือกแล้วจะต้องสามารถแก้ไขเฉพาะพื้นที่ภายในส่วนที่เลือกได้ และจัดการกับพื้นที่นอกบริเวณที่เลือกของภาพได้
(Learning how to select areas of an image is of primary importance when working with Adobe Photoshop you must first select what you want to affect. Once you’ve made a selection, only the area within a selection can be edited; areas outside the selection are protected from change.)

ในบทนี้จะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีโดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้:
• Use the marquee, lasso, and magic wand tools to select parts of an image in various ways.
• Reposition a selection marquee.
• Deselect a selection.
• Move and duplicate a selection.
• Constrain the movement of a selection.
• Adjust a selection with the arrow keys.
• Add to and subtract from selections.
• Rotate, scale, and transform a selection.
• Combine selection tools.
• Crop an image.

1.ตัวอย่างภาพชิ้นงานเมื่อเสร็จสมบูรณ์ [End01.psd 216 Kbytes]
2.เอกสารประกอบการฝึกปฏิบัติ [PDF 648 Kbytes]
3.ชิ้นงานสำหรับเริ่มฝึกปฏิบัติ [Start01.psd]

แปลและเรียบเรียงโดย ผศ.ปริญญา น้อยดอนไพร
(สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)

บทที่ 2 พื้นฐานการทำงานร่วมกับเลเยอร์ (Labyer Basics)

บทที่ 2 พื้นฐานการทำงานร่วมกับเลเยอร์ (Labyer Basics)
โปรแกรม Adobe Photoshop สามารถแยกส่วนต่างๆ ของภาพออกเป็นเลเยอร์หรือชั้นที่ซ่อนกันของภาพ โดยแต่ละเลเยอร์สามารถแก้ไขชิ้นงานแบบอิสระต่อกันทำให้มีความยืดหยุ่นในการแก้ไขภาพ
(Adobe Photoshop lets you isolate different parts of an image on layers. Each layer can then be edited as discrete artwork, allowing unlimited flexibility in composing and revising an image.)

ในบทนี้จะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีโดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้:
• Organize your artwork on layers.
• Create a new layer.
• View and hide layers.
• Select layers.
• Remove artwork on layers.
• Reorder layers to change the placement of artwork in the image.
• Apply modes to layers to vary the effect of artwork on the layer.
• Link layers to affect them simultaneously.
• Apply a gradient to a layer.
• Add text and layer effects to a layer.
• Save a copy of the file with the layers flattened.

1.ตัวอย่างภาพชิ้นงานเมื่อเสร็จสมบูรณ์ [End02.psd 401 Kbytes]
2.เอกสารประกอบการฝึกปฏิบัติ [PDF 543 Kbytes]
3.ชิ้นงานสำหรับเริ่มฝึกปฏิบัติ [Start02.psd 1.06 Mbytes]
4.ภาพประกอบ 1 (นาฬิกา) [Clock.psd 167 Kbytes]

แปลและเรียบเรียงโดย ผศ.ปริญญา น้อยดอนไพร
(สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)

บทที่ 4 การรวมชิ้นงานกราฟิก Adobe Illustrator และ Adobe Photoshop

บทที่ 4 การรวมชิ้นงานกราฟิก Adobe Illustrator และ Adobe Photoshop เนื้อหาสำหรับบทเรียนนี้เป็นขั้นตอนการผสมผสานชิ้นงานกราฟิกจากโปรแกรม Adobe Illustrator (ไฟล์ภาพชนิด Vector) ลงในไฟล์ Adobe Photoshop นอกจากนี้ยังสามารถส่งออกงานศิลปะที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ในโปรแกรมกราฟิกอื่นๆ
(You can easily add a graphic created in a drawing program to an Adobe Photoshop file. This is an effective method for seeing how a line drawing looks applied to a photograph or for trying out Photoshop special effects on vector art. You can also export the resulting artwork for use in other graphics programs.)

ในบทนี้จะเรียนรู้ขั้นตอนวิธีโดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้:
• Differentiate between bitmap and vector graphics.
• Place an Adobe Illustrator graphic in an Adobe Photoshop file.
• Scale the placed graphic.
• Distort a graphic to match the perspective of a photograph.
• Apply different blending modes to a graphic.
• Use the Export Transparent Image wizard to prepare a Photoshop image for use in an Illustrator file.

1.ตัวอย่างภาพชิ้นงานเมื่อเสร็จสมบูรณ์ [End04.psd 176 Kbytes]
2.เอกสารประกอบการฝึกปฏิบัติ [PDF 371 Kbytes]
3.ชิ้นงานสำหรับเริ่มฝึกปฏิบัติ [Start04.psd]
4.ภาพประกอบ 1 เป็นไฟล์ชนิด AI [Logo.ai 124 Kbytes]
5.ภาพประกอบ 2 เป็นไฟล์ชนิด AI [Mailer.ai 184 Kbytes]

แปลและเรียบเรียงโดย ผศ.ปริญญา น้อยดอนไพร
(สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี)